สถิติ
เปิดเมื่อ20/06/2019
อัพเดท6/09/2019
ผู้เข้าชม1542
แสดงหน้า1702
สินค้า
ปฎิทิน
July 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
  




วัฒนธรรมประเพณีของจังหวัดกระบี่

อ่าน 66 | ตอบ 0





1. ประเพณีลอยเรือชาวเลกระบี่ ที่เกาะลันตานับเป็นงานประเพณีเก่าแก่ของชาวเลที่
หาดได้ยาก งานนี้จัดตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 และวันเพ็ญเดือน 11ของทุกปี โดยกลุ่ม
ชาวเลในบริเวณเกาะลันตาและเกาะใกล้เคียงจะมาชุมนุมกันทำพิธีลอยเรือเพื่อสะเดาะ
เคราะห์ ณ ชายหาดใกล้ ๆ กับบ้านศาลาด่าน ในพิธีจะมีการร้องรำทำเพลง มีการร่ายรำ
รอบลำเรือด้วยจังหวะและทำนองเพลงรองเง็ง
        พิธีกรรม : ในวันขึ้น 13 ค่ำ ช่วงเช้า ชาวเลจะเดินทางไปบริเวณที่จะทำพิธี ผู้หญิง
จะทำขนม ผู้ชายจะสร้างและซ่อมแซมที่พักชั่วคราว ช่วงเย็น ทั้งหญิงและชายจะไปรวมกัน
ที่ศาลบรรพบุรุษเพื่อนำอาหารเครื่องเซ่นไปเซ่นไหว้บรรพบุรุษเป็นการบอกกล่าวให้มา
ร่วมพิธีลอยเรือเช้าของวันขึ้น 14 ค่ำ ผู้ชายส่วนหนึ่งเดินทางไปตัดไม้ เพื่อนำไม้มาทำเรือ
ผู้หญิงจะร้องรำทำเพลง ในขณะที่รอรับไม้บริเวณชายฝั่ง แล้วขบวนแห่จะแห่ไม้ไปวนรอบ
ศาลบรรพบุรุษเพื่อนำกลับมาทำเรือ 'ปลาจั๊ก' คืนวันขึ้น 14 ค่ำ มีพิธีฉลองเรือโดยมีการรำ
รอบเรือ เพื่อถวายวิญญาณบรรพบุรุษ โดยใช้ดนตรีและเพลงรำมะนาประกอบวงหนึ่ง และ
อีกวงจะเป็นการรำวงแบบสมัยใหม่มีดนตรีชาโดว์ประกอบการร้องรำ โต๊ะหมอจะทำพิธีใน
ช่วงเริ่มฉลองเรือและมีพิธีสาดน้ำตอนเที่ยงคืน (เลฮฺบาเลฮฺ)และทำพิธีอีกครั้งในช่วงเช้าตรู่
วันขึ้น 15 ค่ำ ก่อนนำเรือไปลอยในทิศทางลมซึ่งแน่ใจว่าเรือจะไม่ลอยกลับเข้าฝั่ง หลังจาก
นั้นแยกย้ายกันนอนพักผ่อน บ่ายวันขึ้น 15 ค่ำ ผู้ชายส่วนหนึ่งแยกย้ายไปตัดไม้และหาใบกะพร้อเพื่อทำไม้กันผีสำหรับทำพิธีฉลองในเวลากลางคืน โดยมีพิธีกรรมเหมือนกับพิธีฉลอง
เรือทุกประการ จนกระทั่งใกล้จะสว่างโต๊ะหมอจะทำพิธีเสกน้ำมนต์ทำนายโชคชะตา 
และสะเดาะเคราะห์ให้สมาชิกที่เข้าร่วมพิธีก่อนจะอาบน้ำมนต์ และแยกย้ายกันกลับบ้าน
โดยนำไม้กันผีไปปัก บริเวณรอบหมู่บ้านด้วยเรือปลาจั๊กที่ทำขึ้นในพิธีลอยเรือ ทำจากไม้
ตีนเป็ดและไม้ระกำเป็นสัญลักษณ์ของ 'ยาน' ที่จะนำวิญญาณของคนและสัตว์ไปสู่อีกภพ
หนึ่ง มีชิ้นไม้ระกำที่สลักเสลาอย่างสวยงามเป็นรูปลักษณ์ต่าง ๆ ประดับประดาอยู่ในเรือ 
รูปนกเกาะหัวเรือ หมายถึง 'โต๊ะบุหรง' บรรพบุรุษผู้ซึ่งสามารถห้ามลมห้ามฝน ลายฟันปลา 
หมายถึง 'โต๊ะบิกง' บรรพบุรุษที่เป็นฉลาม ลายงูหมายถึง 'โต๊ะอาโฆะเบอราไตย' 
บรรพบุรุษที่เป็นงู ฯลฯ ในเรือยังมีตุ๊กตาไม้ระกำทำหน้าที่นำเคราะห์โศกโรคภัยของสมาชิก
ในแต่ละครอบครัวเดินทางไปกับเรือและเครื่องเซ่นต่าง ๆ ที่จะให้วิญญาณบรรพบุรุษนำติด
ตัวไปยังถิ่นฐานเดิมที่เรียกว่า 'ฆูนุงฌึไร'การร่ายรำแบบดั้งเดิมผสมผสานกับบทเพลงเก่าแก่
และดนตรีรำมะนา เป็นส่วนประกอบที่เร้าใจและเป็นการรำถวายต่อบรรพบุรุษ ทุกคนที่รำ
เชื่อว่าจะได้บุญโต๊ะหมอผู้นำทั้งทางโลกและทางธรรม เชื่อว่าเป็นผู้ที่สามารถสื่อสารกับ
พระผู้เป็นเจ้าและวิญญาณบรรพบุรุษได้ผู้ที่ผ่านพิธีลอยเรือถือว่าจะเป็นผู้ที่ผ่านทุกข์โศก
โรคภัยไปหมดแล้วชีวิตต่อไปข้างหน้าจะประสบแต่ความสุขและโชคดีในการทำมาหากิน
ประเพณีลอยเรือชาวเลที่เกาะลันตา จะจัดตรงกับวันเพ็ญเดือน 6และวันเพ็ญเดือน 11ของ
ทุกปี ซึ่ง วันเพ็ญเดือน 6ปี พ.ศ.2555ตรงกับวันที่ 5เดือนพฤษภาคม และ วันเพ็ญเดือน11
ปี พ.ศ.2555 ตรงกับวันที่ 30 ตุลาคม	

 
       2. ประเพณีแห่มังกร ปี พ.ศ. 2506กรรมการจัดงานเจ้าพ่อเจ้าแม่ ได้มีการเสนอการ
เชิดมังกรซึ่งชาวจีนทั่วไปถือว่ามังกรเป็นสิ่งสิริมงคลนำโชค ลาภและความผาสูขทั้งปวงมา
สู่บ้านเมืองทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ชั้นสูง ขององค์จักรพรรดิ์จีนในอดีตเพิ่มขึ้นจากขบวนแห่
ต่างๆ อีก 1ขบวนในปัจจุบันงานประเพณีเจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพเป็นประเพณีที่สำคัญและ
มีชื่อเสียงของจังหวัดโดยในงานประเพณีฯ นี้จะมีขบวนแห่แหนต่างๆ เช่น การเชิดสิงโต 
การแห่มังกรเฮ็งกอพะบู๊ เจ้าแม่กวนอิม เหล่านางฟ้า ล่อโก๊ว ไทเก๊ก และการแสดงอื่นๆแห่
ไปตามถนนสายหลักในเขตเทศบาลเมืองฯ และรอบตลาดปากน้ำโพการแสดงที่มีชื่อเสียง
โด่งดังเป็นที่รู้จัก แพร่หลายทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ และสร้างชื่อเสียงให้แก่จังหวัด
นครสวรรค์มาก คือ การแห่และเชิดมังกรทองซึ้งมีความยิ่งใหญ่มโหฬาร สวยงามวิจิตร
ตระการตาเป็นอย่างยิ่งทั้งนี้เนื่องจากในการเชิดมังกรทองของชาว ปากน้ำโพต้องใช้คนที่มี
ความชำนาญและต้องฝึกซ้อมมาดี ถึง150-170คน ตัวมังกรยาว 57-60เมตร  และสวยงาม
ด้วยลวดลายสีสรรตลอดจนตกแต่ประดับประดาด้วยไฟหลากสีตลอดลำตัว ลักษณะ 
การเชิดมังกรก็สนุกสนานตื่นเต้นเร้าใจ การแสดงมีทั้งการพันเสา การพ่นไฟพ่นน้ำ และ
บางปีก็ลงไปเล่นในแม่น้ำในลักษณะของการโผล่จากบาดาล อีกด้วยในปัจจุบันได้มีการ
พัฒนารูปแบบการแสดงเป็นการแสดงในสนามกีฬาประจำจังหวัด  ประกอบแสงสี และเสียง 
และมีการแสดงอื่นๆ ประกอบรายการด้วยทุกปีจะมีนักท่องเที่ยวเดินทางมาชมการแห่มังกร
นี้เป็นจำนวนมากและผู้ที่ได้ชมการแห่มังกรและการแสดงอื่นๆของงานฯ ส่วนใหญ่ต่างก็
ประทับใจและยอมรับเป็นเสียงเดียวกันว่าเป็นการแสดงที่ยิ่ง ใหญ่และสวยงามมาก

 
       3. ประเพณีแห่จาดสารทเดือนสิบ เป็นประเพณีที่บรรพบุรุษไทย นำภูมิปัญญาท้องถิ่น
มากำหนดเป็นแนวทางปฏิบัติ โดยผ่านกระบวนการทางศาสนา   ประเพณีและวัฒนธรรม 
เพื่อให้เกิดความสมัครสมานสามัคคี เกิดความผูกพัน เชื่อมโยงคนในชุมชนให้เป็นกลุ่ม
ชนเดี่ยวกันสังคมชาวไทยในภาคใต้ บรรพบุรุษได้เชื่อมโยงศาสนา ประเพณี และ
วัฒนธรรมเป็นแนวทางปฏิบัติไว้หลากหลาย และหนึ่งในประเพณีเหล่านั้น คือ ประเพณี
แห่จาดสารทเดือนสิบ ซึ่งเป็นประเพณีที่ส่งเสริมให้คนทำความดี มีศีลธรรม เกรงกลัวการ
กระทำผิด เชื่อถือว่าการกระทำที่ผิดจารีต ประเพณีศีลธรรมเป็นบาปและอาจต้องได้รับ
ผลบาปตาม วิถีกรรมที่กระทำไว้ นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมให้คนเกิดความรักใน
บรรพบุรุษ ให้ระลึกถึงคุณความดีที่บรรพบุรุษได้กระทำมาแก่ชนรุ่นหลัง ดังนั้นในเทศกาล
นี้ คนไทยในภาคใต้ ไม่ว่าจะอยู่ ณ แห่งหนตำบลใด ต่างก็พากันกลับมายังภูมิลำเนาของ
ตนเอง  เพื่อร่วมประเพณีแห่จาดสารทเดือนสิบเป็นประจำทุกปี

 
      4. ประเพณีไหว้เเม่ย่านาง ช่วงเวลา ทำทุกเดือน หรือนาน ๆ ครั้งก็ได้ พวกที่ทำทุก
เดือนจะทำตอน 'หยุดหงาย' คือเวลาที่หยุดออกเรือและเดือนหงาย ลักษณะความเชื่อ
แม่ย่านาง หรือ แม่ย่านนาง เป็นคำศัพท์เฉพาะที่ใช้เรียกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่เชื่อกันว่าสถิตอยู่
ประจำเรือแต่ละลำ ชาวเรือที่ออกเรือต้องบูชากราบไหว้ เพราะเชื่อว่า แม่ย่านางจะดล
บันดาลให้ชาวประมงหรือผู้เป็นเจ้าของเรือมีโชคลาภ หรือประสบความสำเร็จตามปรารถนา
ได้สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ บอกให้รู้ว่าเรือลำใดมีแม่ย่านาง ก็คือ ที่หัวเรือจะผูกด้วยด้ายขาว 
ด้ายแดงและผ้าแดง ก่อนออกเรือทุกครั้ง จะพูดกับแม่ย่านางว่า 'อย่าให้มันขัด อย่าให้มัน
ข้อง ให้คล่อง ให้คล่อง ให้แคล้วให้แคล้วทุกอย่าง ออกถึงได้พบปลาทันที ให้สมปรารถนา จะให้รางวัลแก่แม่ย่านาง'
         ความสำคัญ
ทำให้มีโชคลาภ ประสบความสำเร็จสมปรารถนา

 
 
       5. กระบี่เบิกฟ้าอันดามัน เน้นรูปแบบโดยยึดหลักการตามปฏิญญาของจังหวัดกระบี่  
ที่เน้นสร้างค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึงการเป็นเจ้าบ้านที่ดี นำเสนอภาพลักษณ์ด้าน
การท่องเที่ยวในแต่ละพื้นที่  ที่มีความแตกต่างและมีอัตลักษณ์เฉพาะพื้นที่  ทั้งนี้กิจกรรม
ในงานจะแบ่งเป็น 10 กลุ่มกิจกรรม  ได้แก่ เมืองแห่งสุขภาพ  รักษ์อ่าวลึก  ลานตาลันตา  
เมืองศิลปิน  เมืองแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม  สวรรค์แห่งการท่องเที่ยว  อิ่มหนำสำราญ
อาหารอร่อย ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น  ชุมชนสีเขียว  และห้องรับแขกเมือง นอกจากนี้ 
ยังมีกิจกรรม Krabi Go Green : Hotel Expo 2014  บริเวณ กระบี่ ไนท์บาซ่า กิจกรรมใน
งานเริ่มตั้งแต่ 17.00 – 22.00 น.ทุกวัน และในแต่ละโซนจะมีกิจกรรมการแสดง การสาธิต
ต่างๆ อาทิโซนรักอ่าวลึก มีการแสดงวิถีชีวิตของชาวอ่าวลึกในอดีต โดยจำลองบ้านเรือน
และความเป็นอยู่ มีการละเล่นพื้นเมืองบริเวณลานหน้าบ้าน มีตลาดโบราณจำหน่ายอาหาร
พื้นเมือง และมีการแต่งกายย้อนยุค โซนลานตา ลันตา มีการจำลองวิถีมุสลิมบ้านร่าหมาด 
มีการสาธิตการทำข้าวซ้อมมือทำกาแฟสด ทำเครื่องมือประมง และมีการแสดงทางศิลป
วัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยใหม่ (ชาวเล – อุรัละโว้ย) โซนเมืองแห่งสุขภาพ  นำเสนอ
ภาพลักษณ์ที่โดดเด่นของของ อ.คลองท่อม ที่มีน้ำตกร้อน น้ำพุร้อนเค็ม สระมรกต โดยมีการสาธิตและให้บริการสปาเน้นสปาสมุนไพร โยคะ การนวดรักษาตัวเอง โซนเมืองศิลปิน 
เป็นการนำเสนอจุดเด่นของ อ.เขาพนม อ.ปลายพระยา และ อ.ลำทับ ที่เป็นแหล่งกำเนิด
ศิลปินที่มีชื่อเสียง ได้แก่ มโนราห์ฉลวย ประดิษฐ์ศิลป์ จุดนี้จะเป็นเวทีโชว์ความสามารถ
ของศิลปินพื้นบ้านมากมาย โซนเมืองแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม นำเสนองานประเพณีจาก 
อ.เหนือคลอง ซึ่งมีชื่อเสียงคืองานเทศกาลกินเจ โซนสวรรค์แห่งการท่องเที่ยว ซึ่งเป็น
ไฮไลท์ของงานอีกจุดหนึ่ง โซนนี้จะมีการนำเสนอความมีระดับและคุณภาพของการให้
บริการด้านที่พัก (Luxury Hotel) อาหารการกิน (Good Food Great Time) 
ความปลอดภัย (Security)โซนกิจกรรม Krabi Go Green : Hotel Expo 2014 ประกอบ
ด้วย การจัดแสดงสินค้าสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว กิจกรรมประกวด
ความสามารถต่างๆ เช่น การแข่งขันประกวดสุดยอด Krabi Mixologist เครื่องดื่มที่สื่อ
เอกลักษณ์ของกระบี่การจัดพืชผักไม้ประดับที่สวยงามและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 
การจัดสวนถาดด้วยสับปะรดสี  การจัดโต๊ะฮันนีมูน  การประกอบอาหารภายใต้แนวคิด 
กินเปลี่ยนโลก และการแข่งขันกระบี่บาริสต้า สร้างสรรค์ลาดลายกระบี่ลาเต้อา
 
 
 
Comments
 1. ประเพณีลอยเรือชาวเลกระบี่ ที่เกาะลันตานับเป็นงานประเพณีเก่าแก่ของชาวเลที่
หาดได้ยาก งานนี้จัดตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 และวันเพ็ญเดือน 11ของทุกปี โดยกลุ่ม
ชาวเลในบริเวณเกาะลันตาและเกาะใกล้เคียงจะมาชุมนุมกันทำพิธีลอยเรือเพื่อสะเดาะ
เคราะห์ ณ ชายหาดใกล้ ๆ กับบ้านศาลาด่าน ในพิธีจะมีการร้องรำทำเพลง มีการร่ายรำ
รอบลำเรือด้วยจังหวะและทำนองเพลงรองเง็ง
        พิธีกรรม : ในวันขึ้น 13 ค่ำ ช่วงเช้า ชาวเลจะเดินทางไปบริเวณที่จะทำพิธี ผู้หญิง
จะทำขนม ผู้ชายจะสร้างและซ่อมแซมที่พักชั่วคราว ช่วงเย็น ทั้งหญิงและชายจะไปรวมกัน
ที่ศาลบรรพบุรุษเพื่อนำอาหารเครื่องเซ่นไปเซ่นไหว้บรรพบุรุษเป็นการบอกกล่าวให้มา
ร่วมพิธีลอยเรือเช้าของวันขึ้น 14 ค่ำ ผู้ชายส่วนหนึ่งเดินทางไปตัดไม้ เพื่อนำไม้มาทำเรือ
ผู้หญิงจะร้องรำทำเพลง ในขณะที่รอรับไม้บริเวณชายฝั่ง แล้วขบวนแห่จะแห่ไม้ไปวนรอบ
ศาลบรรพบุรุษเพื่อนำกลับมาทำเรือ 'ปลาจั๊ก' คืนวันขึ้น 14 ค่ำ มีพิธีฉลองเรือโดยมีการรำ
รอบเรือ เพื่อถวายวิญญาณบรรพบุรุษ โดยใช้ดนตรีและเพลงรำมะนาประกอบวงหนึ่ง และ
อีกวงจะเป็นการรำวงแบบสมัยใหม่มีดนตรีชาโดว์ประกอบการร้องรำ โต๊ะหมอจะทำพิธีใน
ช่วงเริ่มฉลองเรือและมีพิธีสาดน้ำตอนเที่ยงคืน (เลฮฺบาเลฮฺ)และทำพิธีอีกครั้งในช่วงเช้าตรู่
วันขึ้น 15 ค่ำ ก่อนนำเรือไปลอยในทิศทางลมซึ่งแน่ใจว่าเรือจะไม่ลอยกลับเข้าฝั่ง หลังจาก
นั้นแยกย้ายกันนอนพักผ่อน บ่ายวันขึ้น 15 ค่ำ ผู้ชายส่วนหนึ่งแยกย้ายไปตัดไม้และหาใบกะพร้อเพื่อทำไม้กันผีสำหรับทำพิธีฉลองในเวลากลางคืน โดยมีพิธีกรรมเหมือนกับพิธีฉลอง
เรือทุกประการ จนกระทั่งใกล้จะสว่างโต๊ะหมอจะทำพิธีเสกน้ำมนต์ทำนายโชคชะตา 
และสะเดาะเคราะห์ให้สมาชิกที่เข้าร่วมพิธีก่อนจะอาบน้ำมนต์ และแยกย้ายกันกลับบ้าน
โดยนำไม้กันผีไปปัก บริเวณรอบหมู่บ้านด้วยเรือปลาจั๊กที่ทำขึ้นในพิธีลอยเรือ ทำจากไม้
ตีนเป็ดและไม้ระกำเป็นสัญลักษณ์ของ 'ยาน' ที่จะนำวิญญาณของคนและสัตว์ไปสู่อีกภพ
หนึ่ง มีชิ้นไม้ระกำที่สลักเสลาอย่างสวยงามเป็นรูปลักษณ์ต่าง ๆ ประดับประดาอยู่ในเรือ 
รูปนกเกาะหัวเรือ หมายถึง 'โต๊ะบุหรง' บรรพบุรุษผู้ซึ่งสามารถห้ามลมห้ามฝน ลายฟันปลา 
หมายถึง 'โต๊ะบิกง' บรรพบุรุษที่เป็นฉลาม ลายงูหมายถึง 'โต๊ะอาโฆะเบอราไตย' 
บรรพบุรุษที่เป็นงู ฯลฯ ในเรือยังมีตุ๊กตาไม้ระกำทำหน้าที่นำเคราะห์โศกโรคภัยของสมาชิก
ในแต่ละครอบครัวเดินทางไปกับเรือและเครื่องเซ่นต่าง ๆ ที่จะให้วิญญาณบรรพบุรุษนำติด
ตัวไปยังถิ่นฐานเดิมที่เรียกว่า 'ฆูนุงฌึไร'การร่ายรำแบบดั้งเดิมผสมผสานกับบทเพลงเก่าแก่
และดนตรีรำมะนา เป็นส่วนประกอบที่เร้าใจและเป็นการรำถวายต่อบรรพบุรุษ ทุกคนที่รำ
เชื่อว่าจะได้บุญโต๊ะหมอผู้นำทั้งทางโลกและทางธรรม เชื่อว่าเป็นผู้ที่สามารถสื่อสารกับ
พระผู้เป็นเจ้าและวิญญาณบรรพบุรุษได้ผู้ที่ผ่านพิธีลอยเรือถือว่าจะเป็นผู้ที่ผ่านทุกข์โศก
โรคภัยไปหมดแล้วชีวิตต่อไปข้างหน้าจะประสบแต่ความสุขและโชคดีในการทำมาหากิน
ประเพณีลอยเรือชาวเลที่เกาะลันตา จะจัดตรงกับวันเพ็ญเดือน 6และวันเพ็ญเดือน 11ของ
ทุกปี ซึ่ง วันเพ็ญเดือน 6ปี พ.ศ.2555ตรงกับวันที่ 5เดือนพฤษภาคม และ วันเพ็ญเดือน11
ปี พ.ศ.2555 ตรงกับวันที่ 30 ตุลาคม	

 
       2. ประเพณีแห่มังกร ปี พ.ศ. 2506กรรมการจัดงานเจ้าพ่อเจ้าแม่ ได้มีการเสนอการ
เชิดมังกรซึ่งชาวจีนทั่วไปถือว่ามังกรเป็นสิ่งสิริมงคลนำโชค ลาภและความผาสูขทั้งปวงมา
สู่บ้านเมืองทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ชั้นสูง ขององค์จักรพรรดิ์จีนในอดีตเพิ่มขึ้นจากขบวนแห่
ต่างๆ อีก 1ขบวนในปัจจุบันงานประเพณีเจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพเป็นประเพณีที่สำคัญและ
มีชื่อเสียงของจังหวัดโดยในงานประเพณีฯ นี้จะมีขบวนแห่แหนต่างๆ เช่น การเชิดสิงโต 
การแห่มังกรเฮ็งกอพะบู๊ เจ้าแม่กวนอิม เหล่านางฟ้า ล่อโก๊ว ไทเก๊ก และการแสดงอื่นๆแห่
ไปตามถนนสายหลักในเขตเทศบาลเมืองฯ และรอบตลาดปากน้ำโพการแสดงที่มีชื่อเสียง
โด่งดังเป็นที่รู้จัก แพร่หลายทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ และสร้างชื่อเสียงให้แก่จังหวัด
นครสวรรค์มาก คือ การแห่และเชิดมังกรทองซึ้งมีความยิ่งใหญ่มโหฬาร สวยงามวิจิตร
ตระการตาเป็นอย่างยิ่งทั้งนี้เนื่องจากในการเชิดมังกรทองของชาว ปากน้ำโพต้องใช้คนที่มี
ความชำนาญและต้องฝึกซ้อมมาดี ถึง150-170คน ตัวมังกรยาว 57-60เมตร  และสวยงาม
ด้วยลวดลายสีสรรตลอดจนตกแต่ประดับประดาด้วยไฟหลากสีตลอดลำตัว ลักษณะ 
การเชิดมังกรก็สนุกสนานตื่นเต้นเร้าใจ การแสดงมีทั้งการพันเสา การพ่นไฟพ่นน้ำ และ
บางปีก็ลงไปเล่นในแม่น้ำในลักษณะของการโผล่จากบาดาล อีกด้วยในปัจจุบันได้มีการ
พัฒนารูปแบบการแสดงเป็นการแสดงในสนามกีฬาประจำจังหวัด  ประกอบแสงสี และเสียง 
และมีการแสดงอื่นๆ ประกอบรายการด้วยทุกปีจะมีนักท่องเที่ยวเดินทางมาชมการแห่มังกร
นี้เป็นจำนวนมากและผู้ที่ได้ชมการแห่มังกรและการแสดงอื่นๆของงานฯ ส่วนใหญ่ต่างก็
ประทับใจและยอมรับเป็นเสียงเดียวกันว่าเป็นการแสดงที่ยิ่ง ใหญ่และสวยงามมาก

 
       3. ประเพณีแห่จาดสารทเดือนสิบ เป็นประเพณีที่บรรพบุรุษไทย นำภูมิปัญญาท้องถิ่น
มากำหนดเป็นแนวทางปฏิบัติ โดยผ่านกระบวนการทางศาสนา   ประเพณีและวัฒนธรรม 
เพื่อให้เกิดความสมัครสมานสามัคคี เกิดความผูกพัน เชื่อมโยงคนในชุมชนให้เป็นกลุ่ม
ชนเดี่ยวกันสังคมชาวไทยในภาคใต้ บรรพบุรุษได้เชื่อมโยงศาสนา ประเพณี และ
วัฒนธรรมเป็นแนวทางปฏิบัติไว้หลากหลาย และหนึ่งในประเพณีเหล่านั้น คือ ประเพณี
แห่จาดสารทเดือนสิบ ซึ่งเป็นประเพณีที่ส่งเสริมให้คนทำความดี มีศีลธรรม เกรงกลัวการ
กระทำผิด เชื่อถือว่าการกระทำที่ผิดจารีต ประเพณีศีลธรรมเป็นบาปและอาจต้องได้รับ
ผลบาปตาม วิถีกรรมที่กระทำไว้ นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมให้คนเกิดความรักใน
บรรพบุรุษ ให้ระลึกถึงคุณความดีที่บรรพบุรุษได้กระทำมาแก่ชนรุ่นหลัง ดังนั้นในเทศกาล
นี้ คนไทยในภาคใต้ ไม่ว่าจะอยู่ ณ แห่งหนตำบลใด ต่างก็พากันกลับมายังภูมิลำเนาของ
ตนเอง  เพื่อร่วมประเพณีแห่จาดสารทเดือนสิบเป็นประจำทุกปี

 
      4. ประเพณีไหว้เเม่ย่านาง ช่วงเวลา ทำทุกเดือน หรือนาน ๆ ครั้งก็ได้ พวกที่ทำทุก
เดือนจะทำตอน 'หยุดหงาย' คือเวลาที่หยุดออกเรือและเดือนหงาย ลักษณะความเชื่อ
แม่ย่านาง หรือ แม่ย่านนาง เป็นคำศัพท์เฉพาะที่ใช้เรียกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่เชื่อกันว่าสถิตอยู่
ประจำเรือแต่ละลำ ชาวเรือที่ออกเรือต้องบูชากราบไหว้ เพราะเชื่อว่า แม่ย่านางจะดล
บันดาลให้ชาวประมงหรือผู้เป็นเจ้าของเรือมีโชคลาภ หรือประสบความสำเร็จตามปรารถนา
ได้สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ บอกให้รู้ว่าเรือลำใดมีแม่ย่านาง ก็คือ ที่หัวเรือจะผูกด้วยด้ายขาว 
ด้ายแดงและผ้าแดง ก่อนออกเรือทุกครั้ง จะพูดกับแม่ย่านางว่า 'อย่าให้มันขัด อย่าให้มัน
ข้อง ให้คล่อง ให้คล่อง ให้แคล้วให้แคล้วทุกอย่าง ออกถึงได้พบปลาทันที ให้สมปรารถนา จะให้รางวัลแก่แม่ย่านาง'
         ความสำคัญ
ทำให้มีโชคลาภ ประสบความสำเร็จสมปรารถนา

 
 
       5. กระบี่เบิกฟ้าอันดามัน เน้นรูปแบบโดยยึดหลักการตามปฏิญญาของจังหวัดกระบี่  
ที่เน้นสร้างค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึงการเป็นเจ้าบ้านที่ดี นำเสนอภาพลักษณ์ด้าน
การท่องเที่ยวในแต่ละพื้นที่  ที่มีความแตกต่างและมีอัตลักษณ์เฉพาะพื้นที่  ทั้งนี้กิจกรรม
ในงานจะแบ่งเป็น 10 กลุ่มกิจกรรม  ได้แก่ เมืองแห่งสุขภาพ  รักษ์อ่าวลึก  ลานตาลันตา  
เมืองศิลปิน  เมืองแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม  สวรรค์แห่งการท่องเที่ยว  อิ่มหนำสำราญ
อาหารอร่อย ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น  ชุมชนสีเขียว  และห้องรับแขกเมือง นอกจากนี้ 
ยังมีกิจกรรม Krabi Go Green : Hotel Expo 2014  บริเวณ กระบี่ ไนท์บาซ่า กิจกรรมใน
งานเริ่มตั้งแต่ 17.00 – 22.00 น.ทุกวัน และในแต่ละโซนจะมีกิจกรรมการแสดง การสาธิต
ต่างๆ อาทิโซนรักอ่าวลึก มีการแสดงวิถีชีวิตของชาวอ่าวลึกในอดีต โดยจำลองบ้านเรือน
และความเป็นอยู่ มีการละเล่นพื้นเมืองบริเวณลานหน้าบ้าน มีตลาดโบราณจำหน่ายอาหาร
พื้นเมือง และมีการแต่งกายย้อนยุค โซนลานตา ลันตา มีการจำลองวิถีมุสลิมบ้านร่าหมาด 
มีการสาธิตการทำข้าวซ้อมมือทำกาแฟสด ทำเครื่องมือประมง และมีการแสดงทางศิลป
วัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยใหม่ (ชาวเล – อุรัละโว้ย) โซนเมืองแห่งสุขภาพ  นำเสนอ
ภาพลักษณ์ที่โดดเด่นของของ อ.คลองท่อม ที่มีน้ำตกร้อน น้ำพุร้อนเค็ม สระมรกต โดยมีการสาธิตและให้บริการสปาเน้นสปาสมุนไพร โยคะ การนวดรักษาตัวเอง โซนเมืองศิลปิน 
เป็นการนำเสนอจุดเด่นของ อ.เขาพนม อ.ปลายพระยา และ อ.ลำทับ ที่เป็นแหล่งกำเนิด
ศิลปินที่มีชื่อเสียง ได้แก่ มโนราห์ฉลวย ประดิษฐ์ศิลป์ จุดนี้จะเป็นเวทีโชว์ความสามารถ
ของศิลปินพื้นบ้านมากมาย โซนเมืองแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม นำเสนองานประเพณีจาก 
อ.เหนือคลอง ซึ่งมีชื่อเสียงคืองานเทศกาลกินเจ โซนสวรรค์แห่งการท่องเที่ยว ซึ่งเป็น
ไฮไลท์ของงานอีกจุดหนึ่ง โซนนี้จะมีการนำเสนอความมีระดับและคุณภาพของการให้
บริการด้านที่พัก (Luxury Hotel) อาหารการกิน (Good Food Great Time) 
ความปลอดภัย (Security)โซนกิจกรรม Krabi Go Green : Hotel Expo 2014 ประกอบ
ด้วย การจัดแสดงสินค้าสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว กิจกรรมประกวด
ความสามารถต่างๆ เช่น การแข่งขันประกวดสุดยอด Krabi Mixologist เครื่องดื่มที่สื่อ
เอกลักษณ์ของกระบี่การจัดพืชผักไม้ประดับที่สวยงามและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 
การจัดสวนถาดด้วยสับปะรดสี  การจัดโต๊ะฮันนีมูน  การประกอบอาหารภายใต้แนวคิด 
กินเปลี่ยนโลก และการแข่งขันกระบี่บาริสต้า สร้างสรรค์ลาดลายกระบี่ลาเต้อา
 
 
 
Comments
 1. ประเพณีลอยเรือชาวเลกระบี่ ที่เกาะลันตานับเป็นงานประเพณีเก่าแก่ของชาวเลที่
หาดได้ยาก งานนี้จัดตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 และวันเพ็ญเดือน 11ของทุกปี โดยกลุ่ม
ชาวเลในบริเวณเกาะลันตาและเกาะใกล้เคียงจะมาชุมนุมกันทำพิธีลอยเรือเพื่อสะเดาะ
เคราะห์ ณ ชายหาดใกล้ ๆ กับบ้านศาลาด่าน ในพิธีจะมีการร้องรำทำเพลง มีการร่ายรำ
รอบลำเรือด้วยจังหวะและทำนองเพลงรองเง็ง
        พิธีกรรม : ในวันขึ้น 13 ค่ำ ช่วงเช้า ชาวเลจะเดินทางไปบริเวณที่จะทำพิธี ผู้หญิง
จะทำขนม ผู้ชายจะสร้างและซ่อมแซมที่พักชั่วคราว ช่วงเย็น ทั้งหญิงและชายจะไปรวมกัน
ที่ศาลบรรพบุรุษเพื่อนำอาหารเครื่องเซ่นไปเซ่นไหว้บรรพบุรุษเป็นการบอกกล่าวให้มา
ร่วมพิธีลอยเรือเช้าของวันขึ้น 14 ค่ำ ผู้ชายส่วนหนึ่งเดินทางไปตัดไม้ เพื่อนำไม้มาทำเรือ
ผู้หญิงจะร้องรำทำเพลง ในขณะที่รอรับไม้บริเวณชายฝั่ง แล้วขบวนแห่จะแห่ไม้ไปวนรอบ
ศาลบรรพบุรุษเพื่อนำกลับมาทำเรือ 'ปลาจั๊ก' คืนวันขึ้น 14 ค่ำ มีพิธีฉลองเรือโดยมีการรำ
รอบเรือ เพื่อถวายวิญญาณบรรพบุรุษ โดยใช้ดนตรีและเพลงรำมะนาประกอบวงหนึ่ง และ
อีกวงจะเป็นการรำวงแบบสมัยใหม่มีดนตรีชาโดว์ประกอบการร้องรำ โต๊ะหมอจะทำพิธีใน
ช่วงเริ่มฉลองเรือและมีพิธีสาดน้ำตอนเที่ยงคืน (เลฮฺบาเลฮฺ)และทำพิธีอีกครั้งในช่วงเช้าตรู่
วันขึ้น 15 ค่ำ ก่อนนำเรือไปลอยในทิศทางลมซึ่งแน่ใจว่าเรือจะไม่ลอยกลับเข้าฝั่ง หลังจาก
นั้นแยกย้ายกันนอนพักผ่อน บ่ายวันขึ้น 15 ค่ำ ผู้ชายส่วนหนึ่งแยกย้ายไปตัดไม้และหาใบกะพร้อเพื่อทำไม้กันผีสำหรับทำพิธีฉลองในเวลากลางคืน โดยมีพิธีกรรมเหมือนกับพิธีฉลอง
เรือทุกประการ จนกระทั่งใกล้จะสว่างโต๊ะหมอจะทำพิธีเสกน้ำมนต์ทำนายโชคชะตา 
และสะเดาะเคราะห์ให้สมาชิกที่เข้าร่วมพิธีก่อนจะอาบน้ำมนต์ และแยกย้ายกันกลับบ้าน
โดยนำไม้กันผีไปปัก บริเวณรอบหมู่บ้านด้วยเรือปลาจั๊กที่ทำขึ้นในพิธีลอยเรือ ทำจากไม้
ตีนเป็ดและไม้ระกำเป็นสัญลักษณ์ของ 'ยาน' ที่จะนำวิญญาณของคนและสัตว์ไปสู่อีกภพ
หนึ่ง มีชิ้นไม้ระกำที่สลักเสลาอย่างสวยงามเป็นรูปลักษณ์ต่าง ๆ ประดับประดาอยู่ในเรือ 
รูปนกเกาะหัวเรือ หมายถึง 'โต๊ะบุหรง' บรรพบุรุษผู้ซึ่งสามารถห้ามลมห้ามฝน ลายฟันปลา 
หมายถึง 'โต๊ะบิกง' บรรพบุรุษที่เป็นฉลาม ลายงูหมายถึง 'โต๊ะอาโฆะเบอราไตย' 
บรรพบุรุษที่เป็นงู ฯลฯ ในเรือยังมีตุ๊กตาไม้ระกำทำหน้าที่นำเคราะห์โศกโรคภัยของสมาชิก
ในแต่ละครอบครัวเดินทางไปกับเรือและเครื่องเซ่นต่าง ๆ ที่จะให้วิญญาณบรรพบุรุษนำติด
ตัวไปยังถิ่นฐานเดิมที่เรียกว่า 'ฆูนุงฌึไร'การร่ายรำแบบดั้งเดิมผสมผสานกับบทเพลงเก่าแก่
และดนตรีรำมะนา เป็นส่วนประกอบที่เร้าใจและเป็นการรำถวายต่อบรรพบุรุษ ทุกคนที่รำ
เชื่อว่าจะได้บุญโต๊ะหมอผู้นำทั้งทางโลกและทางธรรม เชื่อว่าเป็นผู้ที่สามารถสื่อสารกับ
พระผู้เป็นเจ้าและวิญญาณบรรพบุรุษได้ผู้ที่ผ่านพิธีลอยเรือถือว่าจะเป็นผู้ที่ผ่านทุกข์โศก
โรคภัยไปหมดแล้วชีวิตต่อไปข้างหน้าจะประสบแต่ความสุขและโชคดีในการทำมาหากิน
ประเพณีลอยเรือชาวเลที่เกาะลันตา จะจัดตรงกับวันเพ็ญเดือน 6และวันเพ็ญเดือน 11ของ
ทุกปี ซึ่ง วันเพ็ญเดือน 6ปี พ.ศ.2555ตรงกับวันที่ 5เดือนพฤษภาคม และ วันเพ็ญเดือน11
ปี พ.ศ.2555 ตรงกับวันที่ 30 ตุลาคม	

 
       2. ประเพณีแห่มังกร ปี พ.ศ. 2506กรรมการจัดงานเจ้าพ่อเจ้าแม่ ได้มีการเสนอการ
เชิดมังกรซึ่งชาวจีนทั่วไปถือว่ามังกรเป็นสิ่งสิริมงคลนำโชค ลาภและความผาสูขทั้งปวงมา
สู่บ้านเมืองทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ชั้นสูง ขององค์จักรพรรดิ์จีนในอดีตเพิ่มขึ้นจากขบวนแห่
ต่างๆ อีก 1ขบวนในปัจจุบันงานประเพณีเจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพเป็นประเพณีที่สำคัญและ
มีชื่อเสียงของจังหวัดโดยในงานประเพณีฯ นี้จะมีขบวนแห่แหนต่างๆ เช่น การเชิดสิงโต 
การแห่มังกรเฮ็งกอพะบู๊ เจ้าแม่กวนอิม เหล่านางฟ้า ล่อโก๊ว ไทเก๊ก และการแสดงอื่นๆแห่
ไปตามถนนสายหลักในเขตเทศบาลเมืองฯ และรอบตลาดปากน้ำโพการแสดงที่มีชื่อเสียง
โด่งดังเป็นที่รู้จัก แพร่หลายทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ และสร้างชื่อเสียงให้แก่จังหวัด
นครสวรรค์มาก คือ การแห่และเชิดมังกรทองซึ้งมีความยิ่งใหญ่มโหฬาร สวยงามวิจิตร
ตระการตาเป็นอย่างยิ่งทั้งนี้เนื่องจากในการเชิดมังกรทองของชาว ปากน้ำโพต้องใช้คนที่มี
ความชำนาญและต้องฝึกซ้อมมาดี ถึง150-170คน ตัวมังกรยาว 57-60เมตร  และสวยงาม
ด้วยลวดลายสีสรรตลอดจนตกแต่ประดับประดาด้วยไฟหลากสีตลอดลำตัว ลักษณะ 
การเชิดมังกรก็สนุกสนานตื่นเต้นเร้าใจ การแสดงมีทั้งการพันเสา การพ่นไฟพ่นน้ำ และ
บางปีก็ลงไปเล่นในแม่น้ำในลักษณะของการโผล่จากบาดาล อีกด้วยในปัจจุบันได้มีการ
พัฒนารูปแบบการแสดงเป็นการแสดงในสนามกีฬาประจำจังหวัด  ประกอบแสงสี และเสียง 
และมีการแสดงอื่นๆ ประกอบรายการด้วยทุกปีจะมีนักท่องเที่ยวเดินทางมาชมการแห่มังกร
นี้เป็นจำนวนมากและผู้ที่ได้ชมการแห่มังกรและการแสดงอื่นๆของงานฯ ส่วนใหญ่ต่างก็
ประทับใจและยอมรับเป็นเสียงเดียวกันว่าเป็นการแสดงที่ยิ่ง ใหญ่และสวยงามมาก

 
       3. ประเพณีแห่จาดสารทเดือนสิบ เป็นประเพณีที่บรรพบุรุษไทย นำภูมิปัญญาท้องถิ่น
มากำหนดเป็นแนวทางปฏิบัติ โดยผ่านกระบวนการทางศาสนา   ประเพณีและวัฒนธรรม 
เพื่อให้เกิดความสมัครสมานสามัคคี เกิดความผูกพัน เชื่อมโยงคนในชุมชนให้เป็นกลุ่ม
ชนเดี่ยวกันสังคมชาวไทยในภาคใต้ บรรพบุรุษได้เชื่อมโยงศาสนา ประเพณี และ
วัฒนธรรมเป็นแนวทางปฏิบัติไว้หลากหลาย และหนึ่งในประเพณีเหล่านั้น คือ ประเพณี
แห่จาดสารทเดือนสิบ ซึ่งเป็นประเพณีที่ส่งเสริมให้คนทำความดี มีศีลธรรม เกรงกลัวการ
กระทำผิด เชื่อถือว่าการกระทำที่ผิดจารีต ประเพณีศีลธรรมเป็นบาปและอาจต้องได้รับ
ผลบาปตาม วิถีกรรมที่กระทำไว้ นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมให้คนเกิดความรักใน
บรรพบุรุษ ให้ระลึกถึงคุณความดีที่บรรพบุรุษได้กระทำมาแก่ชนรุ่นหลัง ดังนั้นในเทศกาล
นี้ คนไทยในภาคใต้ ไม่ว่าจะอยู่ ณ แห่งหนตำบลใด ต่างก็พากันกลับมายังภูมิลำเนาของ
ตนเอง  เพื่อร่วมประเพณีแห่จาดสารทเดือนสิบเป็นประจำทุกปี

 
      4. ประเพณีไหว้เเม่ย่านาง ช่วงเวลา ทำทุกเดือน หรือนาน ๆ ครั้งก็ได้ พวกที่ทำทุก
เดือนจะทำตอน 'หยุดหงาย' คือเวลาที่หยุดออกเรือและเดือนหงาย ลักษณะความเชื่อ
แม่ย่านาง หรือ แม่ย่านนาง เป็นคำศัพท์เฉพาะที่ใช้เรียกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่เชื่อกันว่าสถิตอยู่
ประจำเรือแต่ละลำ ชาวเรือที่ออกเรือต้องบูชากราบไหว้ เพราะเชื่อว่า แม่ย่านางจะดล
บันดาลให้ชาวประมงหรือผู้เป็นเจ้าของเรือมีโชคลาภ หรือประสบความสำเร็จตามปรารถนา
ได้สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ บอกให้รู้ว่าเรือลำใดมีแม่ย่านาง ก็คือ ที่หัวเรือจะผูกด้วยด้ายขาว 
ด้ายแดงและผ้าแดง ก่อนออกเรือทุกครั้ง จะพูดกับแม่ย่านางว่า 'อย่าให้มันขัด อย่าให้มัน
ข้อง ให้คล่อง ให้คล่อง ให้แคล้วให้แคล้วทุกอย่าง ออกถึงได้พบปลาทันที ให้สมปรารถนา จะให้รางวัลแก่แม่ย่านาง'
         ความสำคัญ
ทำให้มีโชคลาภ ประสบความสำเร็จสมปรารถนา

 
 
       5. กระบี่เบิกฟ้าอันดามัน เน้นรูปแบบโดยยึดหลักการตามปฏิญญาของจังหวัดกระบี่  
ที่เน้นสร้างค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึงการเป็นเจ้าบ้านที่ดี นำเสนอภาพลักษณ์ด้าน
การท่องเที่ยวในแต่ละพื้นที่  ที่มีความแตกต่างและมีอัตลักษณ์เฉพาะพื้นที่  ทั้งนี้กิจกรรม
ในงานจะแบ่งเป็น 10 กลุ่มกิจกรรม  ได้แก่ เมืองแห่งสุขภาพ  รักษ์อ่าวลึก  ลานตาลันตา  
เมืองศิลปิน  เมืองแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม  สวรรค์แห่งการท่องเที่ยว  อิ่มหนำสำราญ
อาหารอร่อย ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น  ชุมชนสีเขียว  และห้องรับแขกเมือง นอกจากนี้ 
ยังมีกิจกรรม Krabi Go Green : Hotel Expo 2014  บริเวณ กระบี่ ไนท์บาซ่า กิจกรรมใน
งานเริ่มตั้งแต่ 17.00 – 22.00 น.ทุกวัน และในแต่ละโซนจะมีกิจกรรมการแสดง การสาธิต
ต่างๆ อาทิโซนรักอ่าวลึก มีการแสดงวิถีชีวิตของชาวอ่าวลึกในอดีต โดยจำลองบ้านเรือน
และความเป็นอยู่ มีการละเล่นพื้นเมืองบริเวณลานหน้าบ้าน มีตลาดโบราณจำหน่ายอาหาร
พื้นเมือง และมีการแต่งกายย้อนยุค โซนลานตา ลันตา มีการจำลองวิถีมุสลิมบ้านร่าหมาด 
มีการสาธิตการทำข้าวซ้อมมือทำกาแฟสด ทำเครื่องมือประมง และมีการแสดงทางศิลป
วัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยใหม่ (ชาวเล – อุรัละโว้ย) โซนเมืองแห่งสุขภาพ  นำเสนอ
ภาพลักษณ์ที่โดดเด่นของของ อ.คลองท่อม ที่มีน้ำตกร้อน น้ำพุร้อนเค็ม สระมรกต โดยมีการสาธิตและให้บริการสปาเน้นสปาสมุนไพร โยคะ การนวดรักษาตัวเอง โซนเมืองศิลปิน 
เป็นการนำเสนอจุดเด่นของ อ.เขาพนม อ.ปลายพระยา และ อ.ลำทับ ที่เป็นแหล่งกำเนิด
ศิลปินที่มีชื่อเสียง ได้แก่ มโนราห์ฉลวย ประดิษฐ์ศิลป์ จุดนี้จะเป็นเวทีโชว์ความสามารถ
ของศิลปินพื้นบ้านมากมาย โซนเมืองแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม นำเสนองานประเพณีจาก 
อ.เหนือคลอง ซึ่งมีชื่อเสียงคืองานเทศกาลกินเจ โซนสวรรค์แห่งการท่องเที่ยว ซึ่งเป็น
ไฮไลท์ของงานอีกจุดหนึ่ง โซนนี้จะมีการนำเสนอความมีระดับและคุณภาพของการให้
บริการด้านที่พัก (Luxury Hotel) อาหารการกิน (Good Food Great Time) 
ความปลอดภัย (Security)โซนกิจกรรม Krabi Go Green : Hotel Expo 2014 ประกอบ
ด้วย การจัดแสดงสินค้าสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว กิจกรรมประกวด
ความสามารถต่างๆ เช่น การแข่งขันประกวดสุดยอด Krabi Mixologist เครื่องดื่มที่สื่อ
เอกลักษณ์ของกระบี่การจัดพืชผักไม้ประดับที่สวยงามและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 
การจัดสวนถาดด้วยสับปะรดสี  การจัดโต๊ะฮันนีมูน  การประกอบอาหารภายใต้แนวคิด 
กินเปลี่ยนโลก และการแข่งขันกระบี่บาริสต้า สร้างสรรค์ลาดลายกระบี่ลาเต้อา
 
 
 
Comments
 1. ประเพณีลอยเรือชาวเลกระบี่ ที่เกาะลันตานับเป็นงานประเพณีเก่าแก่ของชาวเลที่
หาดได้ยาก งานนี้จัดตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 และวันเพ็ญเดือน 11ของทุกปี โดยกลุ่ม
ชาวเลในบริเวณเกาะลันตาและเกาะใกล้เคียงจะมาชุมนุมกันทำพิธีลอยเรือเพื่อสะเดาะ
เคราะห์ ณ ชายหาดใกล้ ๆ กับบ้านศาลาด่าน ในพิธีจะมีการร้องรำทำเพลง มีการร่ายรำ
รอบลำเรือด้วยจังหวะและทำนองเพลงรองเง็ง
        พิธีกรรม : ในวันขึ้น 13 ค่ำ ช่วงเช้า ชาวเลจะเดินทางไปบริเวณที่จะทำพิธี ผู้หญิง
จะทำขนม ผู้ชายจะสร้างและซ่อมแซมที่พักชั่วคราว ช่วงเย็น ทั้งหญิงและชายจะไปรวมกัน
ที่ศาลบรรพบุรุษเพื่อนำอาหารเครื่องเซ่นไปเซ่นไหว้บรรพบุรุษเป็นการบอกกล่าวให้มา
ร่วมพิธีลอยเรือเช้าของวันขึ้น 14 ค่ำ ผู้ชายส่วนหนึ่งเดินทางไปตัดไม้ เพื่อนำไม้มาทำเรือ
ผู้หญิงจะร้องรำทำเพลง ในขณะที่รอรับไม้บริเวณชายฝั่ง แล้วขบวนแห่จะแห่ไม้ไปวนรอบ
ศาลบรรพบุรุษเพื่อนำกลับมาทำเรือ 'ปลาจั๊ก' คืนวันขึ้น 14 ค่ำ มีพิธีฉลองเรือโดยมีการรำ
รอบเรือ เพื่อถวายวิญญาณบรรพบุรุษ โดยใช้ดนตรีและเพลงรำมะนาประกอบวงหนึ่ง และ
อีกวงจะเป็นการรำวงแบบสมัยใหม่มีดนตรีชาโดว์ประกอบการร้องรำ โต๊ะหมอจะทำพิธีใน
ช่วงเริ่มฉลองเรือและมีพิธีสาดน้ำตอนเที่ยงคืน (เลฮฺบาเลฮฺ)และทำพิธีอีกครั้งในช่วงเช้าตรู่
วันขึ้น 15 ค่ำ ก่อนนำเรือไปลอยในทิศทางลมซึ่งแน่ใจว่าเรือจะไม่ลอยกลับเข้าฝั่ง หลังจาก
นั้นแยกย้ายกันนอนพักผ่อน บ่ายวันขึ้น 15 ค่ำ ผู้ชายส่วนหนึ่งแยกย้ายไปตัดไม้และหาใบกะพร้อเพื่อทำไม้กันผีสำหรับทำพิธีฉลองในเวลากลางคืน โดยมีพิธีกรรมเหมือนกับพิธีฉลอง
เรือทุกประการ จนกระทั่งใกล้จะสว่างโต๊ะหมอจะทำพิธีเสกน้ำมนต์ทำนายโชคชะตา 
และสะเดาะเคราะห์ให้สมาชิกที่เข้าร่วมพิธีก่อนจะอาบน้ำมนต์ และแยกย้ายกันกลับบ้าน
โดยนำไม้กันผีไปปัก บริเวณรอบหมู่บ้านด้วยเรือปลาจั๊กที่ทำขึ้นในพิธีลอยเรือ ทำจากไม้
ตีนเป็ดและไม้ระกำเป็นสัญลักษณ์ของ 'ยาน' ที่จะนำวิญญาณของคนและสัตว์ไปสู่อีกภพ
หนึ่ง มีชิ้นไม้ระกำที่สลักเสลาอย่างสวยงามเป็นรูปลักษณ์ต่าง ๆ ประดับประดาอยู่ในเรือ 
รูปนกเกาะหัวเรือ หมายถึง 'โต๊ะบุหรง' บรรพบุรุษผู้ซึ่งสามารถห้ามลมห้ามฝน ลายฟันปลา 
หมายถึง 'โต๊ะบิกง' บรรพบุรุษที่เป็นฉลาม ลายงูหมายถึง 'โต๊ะอาโฆะเบอราไตย' 
บรรพบุรุษที่เป็นงู ฯลฯ ในเรือยังมีตุ๊กตาไม้ระกำทำหน้าที่นำเคราะห์โศกโรคภัยของสมาชิก
ในแต่ละครอบครัวเดินทางไปกับเรือและเครื่องเซ่นต่าง ๆ ที่จะให้วิญญาณบรรพบุรุษนำติด
ตัวไปยังถิ่นฐานเดิมที่เรียกว่า 'ฆูนุงฌึไร'การร่ายรำแบบดั้งเดิมผสมผสานกับบทเพลงเก่าแก่
และดนตรีรำมะนา เป็นส่วนประกอบที่เร้าใจและเป็นการรำถวายต่อบรรพบุรุษ ทุกคนที่รำ
เชื่อว่าจะได้บุญโต๊ะหมอผู้นำทั้งทางโลกและทางธรรม เชื่อว่าเป็นผู้ที่สามารถสื่อสารกับ
พระผู้เป็นเจ้าและวิญญาณบรรพบุรุษได้ผู้ที่ผ่านพิธีลอยเรือถือว่าจะเป็นผู้ที่ผ่านทุกข์โศก
โรคภัยไปหมดแล้วชีวิตต่อไปข้างหน้าจะประสบแต่ความสุขและโชคดีในการทำมาหากิน
ประเพณีลอยเรือชาวเลที่เกาะลันตา จะจัดตรงกับวันเพ็ญเดือน 6และวันเพ็ญเดือน 11ของ
ทุกปี ซึ่ง วันเพ็ญเดือน 6ปี พ.ศ.2555ตรงกับวันที่ 5เดือนพฤษภาคม และ วันเพ็ญเดือน11
ปี พ.ศ.2555 ตรงกับวันที่ 30 ตุลาคม	

 
       2. ประเพณีแห่มังกร ปี พ.ศ. 2506กรรมการจัดงานเจ้าพ่อเจ้าแม่ ได้มีการเสนอการ
เชิดมังกรซึ่งชาวจีนทั่วไปถือว่ามังกรเป็นสิ่งสิริมงคลนำโชค ลาภและความผาสูขทั้งปวงมา
สู่บ้านเมืองทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ชั้นสูง ขององค์จักรพรรดิ์จีนในอดีตเพิ่มขึ้นจากขบวนแห่
ต่างๆ อีก 1ขบวนในปัจจุบันงานประเพณีเจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพเป็นประเพณีที่สำคัญและ
มีชื่อเสียงของจังหวัดโดยในงานประเพณีฯ นี้จะมีขบวนแห่แหนต่างๆ เช่น การเชิดสิงโต 
การแห่มังกรเฮ็งกอพะบู๊ เจ้าแม่กวนอิม เหล่านางฟ้า ล่อโก๊ว ไทเก๊ก และการแสดงอื่นๆแห่
ไปตามถนนสายหลักในเขตเทศบาลเมืองฯ และรอบตลาดปากน้ำโพการแสดงที่มีชื่อเสียง
โด่งดังเป็นที่รู้จัก แพร่หลายทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ และสร้างชื่อเสียงให้แก่จังหวัด
นครสวรรค์มาก คือ การแห่และเชิดมังกรทองซึ้งมีความยิ่งใหญ่มโหฬาร สวยงามวิจิตร
ตระการตาเป็นอย่างยิ่งทั้งนี้เนื่องจากในการเชิดมังกรทองของชาว ปากน้ำโพต้องใช้คนที่มี
ความชำนาญและต้องฝึกซ้อมมาดี ถึง150-170คน ตัวมังกรยาว 57-60เมตร  และสวยงาม
ด้วยลวดลายสีสรรตลอดจนตกแต่ประดับประดาด้วยไฟหลากสีตลอดลำตัว ลักษณะ 
การเชิดมังกรก็สนุกสนานตื่นเต้นเร้าใจ การแสดงมีทั้งการพันเสา การพ่นไฟพ่นน้ำ และ
บางปีก็ลงไปเล่นในแม่น้ำในลักษณะของการโผล่จากบาดาล อีกด้วยในปัจจุบันได้มีการ
พัฒนารูปแบบการแสดงเป็นการแสดงในสนามกีฬาประจำจังหวัด  ประกอบแสงสี และเสียง 
และมีการแสดงอื่นๆ ประกอบรายการด้วยทุกปีจะมีนักท่องเที่ยวเดินทางมาชมการแห่มังกร
นี้เป็นจำนวนมากและผู้ที่ได้ชมการแห่มังกรและการแสดงอื่นๆของงานฯ ส่วนใหญ่ต่างก็
ประทับใจและยอมรับเป็นเสียงเดียวกันว่าเป็นการแสดงที่ยิ่ง ใหญ่และสวยงามมาก

 
       3. ประเพณีแห่จาดสารทเดือนสิบ เป็นประเพณีที่บรรพบุรุษไทย นำภูมิปัญญาท้องถิ่น
มากำหนดเป็นแนวทางปฏิบัติ โดยผ่านกระบวนการทางศาสนา   ประเพณีและวัฒนธรรม 
เพื่อให้เกิดความสมัครสมานสามัคคี เกิดความผูกพัน เชื่อมโยงคนในชุมชนให้เป็นกลุ่ม
ชนเดี่ยวกันสังคมชาวไทยในภาคใต้ บรรพบุรุษได้เชื่อมโยงศาสนา ประเพณี และ
วัฒนธรรมเป็นแนวทางปฏิบัติไว้หลากหลาย และหนึ่งในประเพณีเหล่านั้น คือ ประเพณี
แห่จาดสารทเดือนสิบ ซึ่งเป็นประเพณีที่ส่งเสริมให้คนทำความดี มีศีลธรรม เกรงกลัวการ
กระทำผิด เชื่อถือว่าการกระทำที่ผิดจารีต ประเพณีศีลธรรมเป็นบาปและอาจต้องได้รับ
ผลบาปตาม วิถีกรรมที่กระทำไว้ นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมให้คนเกิดความรักใน
บรรพบุรุษ ให้ระลึกถึงคุณความดีที่บรรพบุรุษได้กระทำมาแก่ชนรุ่นหลัง ดังนั้นในเทศกาล
นี้ คนไทยในภาคใต้ ไม่ว่าจะอยู่ ณ แห่งหนตำบลใด ต่างก็พากันกลับมายังภูมิลำเนาของ
ตนเอง  เพื่อร่วมประเพณีแห่จาดสารทเดือนสิบเป็นประจำทุกปี

 
      4. ประเพณีไหว้เเม่ย่านาง ช่วงเวลา ทำทุกเดือน หรือนาน ๆ ครั้งก็ได้ พวกที่ทำทุก
เดือนจะทำตอน 'หยุดหงาย' คือเวลาที่หยุดออกเรือและเดือนหงาย ลักษณะความเชื่อ
แม่ย่านาง หรือ แม่ย่านนาง เป็นคำศัพท์เฉพาะที่ใช้เรียกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่เชื่อกันว่าสถิตอยู่
ประจำเรือแต่ละลำ ชาวเรือที่ออกเรือต้องบูชากราบไหว้ เพราะเชื่อว่า แม่ย่านางจะดล
บันดาลให้ชาวประมงหรือผู้เป็นเจ้าของเรือมีโชคลาภ หรือประสบความสำเร็จตามปรารถนา
ได้สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ บอกให้รู้ว่าเรือลำใดมีแม่ย่านาง ก็คือ ที่หัวเรือจะผูกด้วยด้ายขาว 
ด้ายแดงและผ้าแดง ก่อนออกเรือทุกครั้ง จะพูดกับแม่ย่านางว่า 'อย่าให้มันขัด อย่าให้มัน
ข้อง ให้คล่อง ให้คล่อง ให้แคล้วให้แคล้วทุกอย่าง ออกถึงได้พบปลาทันที ให้สมปรารถนา จะให้รางวัลแก่แม่ย่านาง'
         ความสำคัญ
ทำให้มีโชคลาภ ประสบความสำเร็จสมปรารถนา

 
 
       5. กระบี่เบิกฟ้าอันดามัน เน้นรูปแบบโดยยึดหลักการตามปฏิญญาของจังหวัดกระบี่  
ที่เน้นสร้างค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึงการเป็นเจ้าบ้านที่ดี นำเสนอภาพลักษณ์ด้าน
การท่องเที่ยวในแต่ละพื้นที่  ที่มีความแตกต่างและมีอัตลักษณ์เฉพาะพื้นที่  ทั้งนี้กิจกรรม
ในงานจะแบ่งเป็น 10 กลุ่มกิจกรรม  ได้แก่ เมืองแห่งสุขภาพ  รักษ์อ่าวลึก  ลานตาลันตา  
เมืองศิลปิน  เมืองแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม  สวรรค์แห่งการท่องเที่ยว  อิ่มหนำสำราญ
อาหารอร่อย ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น  ชุมชนสีเขียว  และห้องรับแขกเมือง นอกจากนี้ 
ยังมีกิจกรรม Krabi Go Green : Hotel Expo 2014  บริเวณ กระบี่ ไนท์บาซ่า กิจกรรมใน
งานเริ่มตั้งแต่ 17.00 – 22.00 น.ทุกวัน และในแต่ละโซนจะมีกิจกรรมการแสดง การสาธิต
ต่างๆ อาทิโซนรักอ่าวลึก มีการแสดงวิถีชีวิตของชาวอ่าวลึกในอดีต โดยจำลองบ้านเรือน
และความเป็นอยู่ มีการละเล่นพื้นเมืองบริเวณลานหน้าบ้าน มีตลาดโบราณจำหน่ายอาหาร
พื้นเมือง และมีการแต่งกายย้อนยุค โซนลานตา ลันตา มีการจำลองวิถีมุสลิมบ้านร่าหมาด 
มีการสาธิตการทำข้าวซ้อมมือทำกาแฟสด ทำเครื่องมือประมง และมีการแสดงทางศิลป
วัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยใหม่ (ชาวเล – อุรัละโว้ย) โซนเมืองแห่งสุขภาพ  นำเสนอ
ภาพลักษณ์ที่โดดเด่นของของ อ.คลองท่อม ที่มีน้ำตกร้อน น้ำพุร้อนเค็ม สระมรกต โดยมีการสาธิตและให้บริการสปาเน้นสปาสมุนไพร โยคะ การนวดรักษาตัวเอง โซนเมืองศิลปิน 
เป็นการนำเสนอจุดเด่นของ อ.เขาพนม อ.ปลายพระยา และ อ.ลำทับ ที่เป็นแหล่งกำเนิด
ศิลปินที่มีชื่อเสียง ได้แก่ มโนราห์ฉลวย ประดิษฐ์ศิลป์ จุดนี้จะเป็นเวทีโชว์ความสามารถ
ของศิลปินพื้นบ้านมากมาย โซนเมืองแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม นำเสนองานประเพณีจาก 
อ.เหนือคลอง ซึ่งมีชื่อเสียงคืองานเทศกาลกินเจ โซนสวรรค์แห่งการท่องเที่ยว ซึ่งเป็น
ไฮไลท์ของงานอีกจุดหนึ่ง โซนนี้จะมีการนำเสนอความมีระดับและคุณภาพของการให้
บริการด้านที่พัก (Luxury Hotel) อาหารการกิน (Good Food Great Time) 
ความปลอดภัย (Security)โซนกิจกรรม Krabi Go Green : Hotel Expo 2014 ประกอบ
ด้วย การจัดแสดงสินค้าสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว กิจกรรมประกวด
ความสามารถต่างๆ เช่น การแข่งขันประกวดสุดยอด Krabi Mixologist เครื่องดื่มที่สื่อ
เอกลักษณ์ของกระบี่การจัดพืชผักไม้ประดับที่สวยงามและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 
การจัดสวนถาดด้วยสับปะรดสี  การจัดโต๊ะฮันนีมูน  การประกอบอาหารภายใต้แนวคิด 
กินเปลี่ยนโลก และการแข่งขันกระบี่บาริสต้า สร้างสรรค์ลาดลายกระบี่ลาเต้อา
 
 
 
Comments
 1. ประเพณีลอยเรือชาวเลกระบี่ ที่เกาะลันตานับเป็นงานประเพณีเก่าแก่ของชาวเลที่
หาดได้ยาก งานนี้จัดตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 และวันเพ็ญเดือน 11ของทุกปี โดยกลุ่ม
ชาวเลในบริเวณเกาะลันตาและเกาะใกล้เคียงจะมาชุมนุมกันทำพิธีลอยเรือเพื่อสะเดาะ
เคราะห์ ณ ชายหาดใกล้ ๆ กับบ้านศาลาด่าน ในพิธีจะมีการร้องรำทำเพลง มีการร่ายรำ
รอบลำเรือด้วยจังหวะและทำนองเพลงรองเง็ง
        พิธีกรรม : ในวันขึ้น 13 ค่ำ ช่วงเช้า ชาวเลจะเดินทางไปบริเวณที่จะทำพิธี ผู้หญิง
จะทำขนม ผู้ชายจะสร้างและซ่อมแซมที่พักชั่วคราว ช่วงเย็น ทั้งหญิงและชายจะไปรวมกัน
ที่ศาลบรรพบุรุษเพื่อนำอาหารเครื่องเซ่นไปเซ่นไหว้บรรพบุรุษเป็นการบอกกล่าวให้มา
ร่วมพิธีลอยเรือเช้าของวันขึ้น 14 ค่ำ ผู้ชายส่วนหนึ่งเดินทางไปตัดไม้ เพื่อนำไม้มาทำเรือ
ผู้หญิงจะร้องรำทำเพลง ในขณะที่รอรับไม้บริเวณชายฝั่ง แล้วขบวนแห่จะแห่ไม้ไปวนรอบ
ศาลบรรพบุรุษเพื่อนำกลับมาทำเรือ 'ปลาจั๊ก' คืนวันขึ้น 14 ค่ำ มีพิธีฉลองเรือโดยมีการรำ
รอบเรือ เพื่อถวายวิญญาณบรรพบุรุษ โดยใช้ดนตรีและเพลงรำมะนาประกอบวงหนึ่ง และ
อีกวงจะเป็นการรำวงแบบสมัยใหม่มีดนตรีชาโดว์ประกอบการร้องรำ โต๊ะหมอจะทำพิธีใน
ช่วงเริ่มฉลองเรือและมีพิธีสาดน้ำตอนเที่ยงคืน (เลฮฺบาเลฮฺ)และทำพิธีอีกครั้งในช่วงเช้าตรู่
วันขึ้น 15 ค่ำ ก่อนนำเรือไปลอยในทิศทางลมซึ่งแน่ใจว่าเรือจะไม่ลอยกลับเข้าฝั่ง หลังจาก
นั้นแยกย้ายกันนอนพักผ่อน บ่ายวันขึ้น 15 ค่ำ ผู้ชายส่วนหนึ่งแยกย้ายไปตัดไม้และหาใบกะพร้อเพื่อทำไม้กันผีสำหรับทำพิธีฉลองในเวลากลางคืน โดยมีพิธีกรรมเหมือนกับพิธีฉลอง
เรือทุกประการ จนกระทั่งใกล้จะสว่างโต๊ะหมอจะทำพิธีเสกน้ำมนต์ทำนายโชคชะตา 
และสะเดาะเคราะห์ให้สมาชิกที่เข้าร่วมพิธีก่อนจะอาบน้ำมนต์ และแยกย้ายกันกลับบ้าน
โดยนำไม้กันผีไปปัก บริเวณรอบหมู่บ้านด้วยเรือปลาจั๊กที่ทำขึ้นในพิธีลอยเรือ ทำจากไม้
ตีนเป็ดและไม้ระกำเป็นสัญลักษณ์ของ 'ยาน' ที่จะนำวิญญาณของคนและสัตว์ไปสู่อีกภพ
หนึ่ง มีชิ้นไม้ระกำที่สลักเสลาอย่างสวยงามเป็นรูปลักษณ์ต่าง ๆ ประดับประดาอยู่ในเรือ 
รูปนกเกาะหัวเรือ หมายถึง 'โต๊ะบุหรง' บรรพบุรุษผู้ซึ่งสามารถห้ามลมห้ามฝน ลายฟันปลา 
หมายถึง 'โต๊ะบิกง' บรรพบุรุษที่เป็นฉลาม ลายงูหมายถึง 'โต๊ะอาโฆะเบอราไตย' 
บรรพบุรุษที่เป็นงู ฯลฯ ในเรือยังมีตุ๊กตาไม้ระกำทำหน้าที่นำเคราะห์โศกโรคภัยของสมาชิก
ในแต่ละครอบครัวเดินทางไปกับเรือและเครื่องเซ่นต่าง ๆ ที่จะให้วิญญาณบรรพบุรุษนำติด
ตัวไปยังถิ่นฐานเดิมที่เรียกว่า 'ฆูนุงฌึไร'การร่ายรำแบบดั้งเดิมผสมผสานกับบทเพลงเก่าแก่
และดนตรีรำมะนา เป็นส่วนประกอบที่เร้าใจและเป็นการรำถวายต่อบรรพบุรุษ ทุกคนที่รำ
เชื่อว่าจะได้บุญโต๊ะหมอผู้นำทั้งทางโลกและทางธรรม เชื่อว่าเป็นผู้ที่สามารถสื่อสารกับ
พระผู้เป็นเจ้าและวิญญาณบรรพบุรุษได้ผู้ที่ผ่านพิธีลอยเรือถือว่าจะเป็นผู้ที่ผ่านทุกข์โศก
โรคภัยไปหมดแล้วชีวิตต่อไปข้างหน้าจะประสบแต่ความสุขและโชคดีในการทำมาหากิน
ประเพณีลอยเรือชาวเลที่เกาะลันตา จะจัดตรงกับวันเพ็ญเดือน 6และวันเพ็ญเดือน 11ของ
ทุกปี ซึ่ง วันเพ็ญเดือน 6ปี พ.ศ.2555ตรงกับวันที่ 5เดือนพฤษภาคม และ วันเพ็ญเดือน11
ปี พ.ศ.2555 ตรงกับวันที่ 30 ตุลาคม	

 
       2. ประเพณีแห่มังกร ปี พ.ศ. 2506กรรมการจัดงานเจ้าพ่อเจ้าแม่ ได้มีการเสนอการ
เชิดมังกรซึ่งชาวจีนทั่วไปถือว่ามังกรเป็นสิ่งสิริมงคลนำโชค ลาภและความผาสูขทั้งปวงมา
สู่บ้านเมืองทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ชั้นสูง ขององค์จักรพรรดิ์จีนในอดีตเพิ่มขึ้นจากขบวนแห่
ต่างๆ อีก 1ขบวนในปัจจุบันงานประเพณีเจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพเป็นประเพณีที่สำคัญและ
มีชื่อเสียงของจังหวัดโดยในงานประเพณีฯ นี้จะมีขบวนแห่แหนต่างๆ เช่น การเชิดสิงโต 
การแห่มังกรเฮ็งกอพะบู๊ เจ้าแม่กวนอิม เหล่านางฟ้า ล่อโก๊ว ไทเก๊ก และการแสดงอื่นๆแห่
ไปตามถนนสายหลักในเขตเทศบาลเมืองฯ และรอบตลาดปากน้ำโพการแสดงที่มีชื่อเสียง
โด่งดังเป็นที่รู้จัก แพร่หลายทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ และสร้างชื่อเสียงให้แก่จังหวัด
นครสวรรค์มาก คือ การแห่และเชิดมังกรทองซึ้งมีความยิ่งใหญ่มโหฬาร สวยงามวิจิตร
ตระการตาเป็นอย่างยิ่งทั้งนี้เนื่องจากในการเชิดมังกรทองของชาว ปากน้ำโพต้องใช้คนที่มี
ความชำนาญและต้องฝึกซ้อมมาดี ถึง150-170คน ตัวมังกรยาว 57-60เมตร  และสวยงาม
ด้วยลวดลายสีสรรตลอดจนตกแต่ประดับประดาด้วยไฟหลากสีตลอดลำตัว ลักษณะ 
การเชิดมังกรก็สนุกสนานตื่นเต้นเร้าใจ การแสดงมีทั้งการพันเสา การพ่นไฟพ่นน้ำ และ
บางปีก็ลงไปเล่นในแม่น้ำในลักษณะของการโผล่จากบาดาล อีกด้วยในปัจจุบันได้มีการ
พัฒนารูปแบบการแสดงเป็นการแสดงในสนามกีฬาประจำจังหวัด  ประกอบแสงสี และเสียง 
และมีการแสดงอื่นๆ ประกอบรายการด้วยทุกปีจะมีนักท่องเที่ยวเดินทางมาชมการแห่มังกร
นี้เป็นจำนวนมากและผู้ที่ได้ชมการแห่มังกรและการแสดงอื่นๆของงานฯ ส่วนใหญ่ต่างก็
ประทับใจและยอมรับเป็นเสียงเดียวกันว่าเป็นการแสดงที่ยิ่ง ใหญ่และสวยงามมาก

 
       3. ประเพณีแห่จาดสารทเดือนสิบ เป็นประเพณีที่บรรพบุรุษไทย นำภูมิปัญญาท้องถิ่น
มากำหนดเป็นแนวทางปฏิบัติ โดยผ่านกระบวนการทางศาสนา   ประเพณีและวัฒนธรรม 
เพื่อให้เกิดความสมัครสมานสามัคคี เกิดความผูกพัน เชื่อมโยงคนในชุมชนให้เป็นกลุ่ม
ชนเดี่ยวกันสังคมชาวไทยในภาคใต้ บรรพบุรุษได้เชื่อมโยงศาสนา ประเพณี และ
วัฒนธรรมเป็นแนวทางปฏิบัติไว้หลากหลาย และหนึ่งในประเพณีเหล่านั้น คือ ประเพณี
แห่จาดสารทเดือนสิบ ซึ่งเป็นประเพณีที่ส่งเสริมให้คนทำความดี มีศีลธรรม เกรงกลัวการ
กระทำผิด เชื่อถือว่าการกระทำที่ผิดจารีต ประเพณีศีลธรรมเป็นบาปและอาจต้องได้รับ
ผลบาปตาม วิถีกรรมที่กระทำไว้ นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมให้คนเกิดความรักใน
บรรพบุรุษ ให้ระลึกถึงคุณความดีที่บรรพบุรุษได้กระทำมาแก่ชนรุ่นหลัง ดังนั้นในเทศกาล
นี้ คนไทยในภาคใต้ ไม่ว่าจะอยู่ ณ แห่งหนตำบลใด ต่างก็พากันกลับมายังภูมิลำเนาของ
ตนเอง  เพื่อร่วมประเพณีแห่จาดสารทเดือนสิบเป็นประจำทุกปี

 
      4. ประเพณีไหว้เเม่ย่านาง ช่วงเวลา ทำทุกเดือน หรือนาน ๆ ครั้งก็ได้ พวกที่ทำทุก
เดือนจะทำตอน 'หยุดหงาย' คือเวลาที่หยุดออกเรือและเดือนหงาย ลักษณะความเชื่อ
แม่ย่านาง หรือ แม่ย่านนาง เป็นคำศัพท์เฉพาะที่ใช้เรียกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่เชื่อกันว่าสถิตอยู่
ประจำเรือแต่ละลำ ชาวเรือที่ออกเรือต้องบูชากราบไหว้ เพราะเชื่อว่า แม่ย่านางจะดล
บันดาลให้ชาวประมงหรือผู้เป็นเจ้าของเรือมีโชคลาภ หรือประสบความสำเร็จตามปรารถนา
ได้สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ บอกให้รู้ว่าเรือลำใดมีแม่ย่านาง ก็คือ ที่หัวเรือจะผูกด้วยด้ายขาว 
ด้ายแดงและผ้าแดง ก่อนออกเรือทุกครั้ง จะพูดกับแม่ย่านางว่า 'อย่าให้มันขัด อย่าให้มัน
ข้อง ให้คล่อง ให้คล่อง ให้แคล้วให้แคล้วทุกอย่าง ออกถึงได้พบปลาทันที ให้สมปรารถนา จะให้รางวัลแก่แม่ย่านาง'
         ความสำคัญ
ทำให้มีโชคลาภ ประสบความสำเร็จสมปรารถนา

 
 
       5. กระบี่เบิกฟ้าอันดามัน เน้นรูปแบบโดยยึดหลักการตามปฏิญญาของจังหวัดกระบี่  
ที่เน้นสร้างค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึงการเป็นเจ้าบ้านที่ดี นำเสนอภาพลักษณ์ด้าน
การท่องเที่ยวในแต่ละพื้นที่  ที่มีความแตกต่างและมีอัตลักษณ์เฉพาะพื้นที่  ทั้งนี้กิจกรรม
ในงานจะแบ่งเป็น 10 กลุ่มกิจกรรม  ได้แก่ เมืองแห่งสุขภาพ  รักษ์อ่าวลึก  ลานตาลันตา  
เมืองศิลปิน  เมืองแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม  สวรรค์แห่งการท่องเที่ยว  อิ่มหนำสำราญ
อาหารอร่อย ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น  ชุมชนสีเขียว  และห้องรับแขกเมือง นอกจากนี้ 
ยังมีกิจกรรม Krabi Go Green : Hotel Expo 2014  บริเวณ กระบี่ ไนท์บาซ่า กิจกรรมใน
งานเริ่มตั้งแต่ 17.00 – 22.00 น.ทุกวัน และในแต่ละโซนจะมีกิจกรรมการแสดง การสาธิต
ต่างๆ อาทิโซนรักอ่าวลึก มีการแสดงวิถีชีวิตของชาวอ่าวลึกในอดีต โดยจำลองบ้านเรือน
และความเป็นอยู่ มีการละเล่นพื้นเมืองบริเวณลานหน้าบ้าน มีตลาดโบราณจำหน่ายอาหาร
พื้นเมือง และมีการแต่งกายย้อนยุค โซนลานตา ลันตา มีการจำลองวิถีมุสลิมบ้านร่าหมาด 
มีการสาธิตการทำข้าวซ้อมมือทำกาแฟสด ทำเครื่องมือประมง และมีการแสดงทางศิลป
วัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยใหม่ (ชาวเล – อุรัละโว้ย) โซนเมืองแห่งสุขภาพ  นำเสนอ
ภาพลักษณ์ที่โดดเด่นของของ อ.คลองท่อม ที่มีน้ำตกร้อน น้ำพุร้อนเค็ม สระมรกต โดยมีการสาธิตและให้บริการสปาเน้นสปาสมุนไพร โยคะ การนวดรักษาตัวเอง โซนเมืองศิลปิน 
เป็นการนำเสนอจุดเด่นของ อ.เขาพนม อ.ปลายพระยา และ อ.ลำทับ ที่เป็นแหล่งกำเนิด
ศิลปินที่มีชื่อเสียง ได้แก่ มโนราห์ฉลวย ประดิษฐ์ศิลป์ จุดนี้จะเป็นเวทีโชว์ความสามารถ
ของศิลปินพื้นบ้านมากมาย โซนเมืองแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม นำเสนองานประเพณีจาก 
อ.เหนือคลอง ซึ่งมีชื่อเสียงคืองานเทศกาลกินเจ โซนสวรรค์แห่งการท่องเที่ยว ซึ่งเป็น
ไฮไลท์ของงานอีกจุดหนึ่ง โซนนี้จะมีการนำเสนอความมีระดับและคุณภาพของการให้
บริการด้านที่พัก (Luxury Hotel) อาหารการกิน (Good Food Great Time) 
ความปลอดภัย (Security)โซนกิจกรรม Krabi Go Green : Hotel Expo 2014 ประกอบ
ด้วย การจัดแสดงสินค้าสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว กิจกรรมประกวด
ความสามารถต่างๆ เช่น การแข่งขันประกวดสุดยอด Krabi Mixologist เครื่องดื่มที่สื่อ
เอกลักษณ์ของกระบี่การจัดพืชผักไม้ประดับที่สวยงามและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 
การจัดสวนถาดด้วยสับปะรดสี  การจัดโต๊ะฮันนีมูน  การประกอบอาหารภายใต้แนวคิด 
กินเปลี่ยนโลก และการแข่งขันกระบี่บาริสต้า สร้างสรรค์ลาดลายกระบี่ลาเต้อา
 
 
 
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :